Posts

Showing posts from March, 2014

နားထောင် โปรดหูตั้งฟังกันหน่อย

ผมชอบแปลภาษาพม่าตามตัวอักษรในความหมายไทย .. มันได้อารมณ์พิลึกพิลั่น และสนุกสนานดี ทำให้การเรียนไม่น่าเบื่อหน่าย เช่น ได้ยินอาจารย์พูบ่อย ๆ ว่า "นาท่อง" ( ในความหมายตั้งใจฟังหน่อย ) ก็แอบสะกดคำศัพท์ได้รูปมาเป็น နားထောင်  คำว่า နား เป็น นามแ ปลว่า หู ထောင် เป็นเวิร์บ แปลว่า ตั้ง รวมกันแย้วว ก็ได้ความ "หูตั้ง" เอาตั้งใจฟังอีกรอบ ก็ว่า "หูตั้ง" กันอีกรอบนะพวกเรา อาจารย์พูด "นาท่อง" ทีไรแล้วชอบถามว่า ผมยิ้มทำไมทุกทีซิน่า อิอิ..

ต่างภาษา แต่สำเนียงกำกวมเหมือนบ้านเรา

คำไม่แสลง แต่คิดว่ามันแสลง เพราะคิดไม่ซื่อ.. คำในภาษาพม่ามีหลายคำครับ ที่ออกเสียงแล้วมันกระดากหูชอบก ล พาลจะไม่กล้าพูดออกเสียง .. ทั้งที่ความจำเป็นของคำศัพท์นั้ น จำเป็นหนักหนา เช่นคำต่อไปนี้ 1. ขอโทษ ด้วยความเกรงใจ ฟังเพื่อนพม่าพูดมาก ๆ เข้า อยากจะขอตัวไปทานข้าว หรือทำอะไรสักอย่าง เราจะใช้คำว่า ကတော့ /ka do.) ฝึกออกเสียงให้ชัด ๆ หน่อยนะครับ 2. คำแรกนั้นออกเสียงสั้นยังไม่ค่อ ยชัด มาว่าต่อด้วยคำว่า  ภรรยาของท่าน ๆ ภาษาพม่าใช้คำว่า ..ကတော် /ka do/ อันนี้ออกเสียงยาว ได้เลย ชัดเปีะ 3. คำว่าหมา แถวแม่สอดออกสำเนียงค่อนข้างชัด สะกดด้วยอักษร ข ควบ ว ตามด้วยสระเอ เสียงยาว ခွေး ระวังหมาดุเด้อ เขาจะบอกว่า ခွေးကလေးပါ พูดถึงคำว่า หมา กล่าวเฉพาะคนพม่า(ในท้องถิ่นที่ รู้จักนะ) ไม่ชอบเลี้ยงหมาครับ ชอบเลี้ยงแพะซะเป็นส่วนใหญ่ คำว่า หมานี่ ถ้าโกรธกันมาก ๆแล้วคนพม่าบอก ခွေးမ หล่ะก้อ อย่าเข้าใจผิดว่าเขาบอกว่าเราเป ็น หมาเพศเมียนะ อันนั้นเขาด่าอย่างโกรธจัด .. ถ้าคนรู้ภาษาพม่าหล่ะก้อเป็นได้ เรื่อง และยังมีอีกหลายคำเสียงที่คนไทย ฟังออกเพี้ยนๆ จนไม่กล้า .. ขออย่างเดียวถ้าท่านไม่คิด อย่างที่ผมคิดการออกเสียงก็ไม่

นามะแลบาบู พูดกับผู้ใหญ่ เพื่อนมันบอกว่าไม่สุภาพซะงั้นไป

นามะแลบาบู พูดกับผู้ใหญ่ เพื่อนมันบอกว่าไม่สุภาพซะงั้นไ ป คำว่าไม่เข้าใจ နားမလည်ပါဘူး อาจารย์ฝรั่งสอนให้ใช้คำนี้มาตล อด แต่เพื่อนชาวพม่า คนบ้านเมียวดี ดันบอกว่า พูดกับผู้ใหญ่นั้นถือว่าไม่สุภา พ แล้วก็ให้ใช้คำว่า မသိပါဘူး แทน .. โอ๊ะ ยังไงหนอ อีกคนก็อาจารย์ อีกคนก็เจ้าของภาษา คำ่วา မသိပါဘူး แปลตามตัวก็ว่า "ไม่รู้" ส่วนคำว่า နားမလည်ပါဘူး นั้นถ้าจะว่ากันตามจริง ก็คือ ไม่เข้าหู นั่นแหละ เพราะคำว่า နား  มันแปลว่าหู เอ.. หรือว่าถ้าเราพูดว่า နားမလည်ပါဘူး กับผู้ใหญ่จะหมายความว่า (พูด) ไม่เข้าหู เหวย โอ๊ะ ยิ่งคิดยิ่งปวดหัว ว่าแต่ท่านอ่านแล้ว နားမလည်ပါဘူး หรือ မသိဘူး กันดี แล้วแต่โอกาสกันหล่ะเนาะ นึกถึงคำไทยว่า กาละเทศะ ขึ้นมาซะงั้น

กิริยานั้นจะต้องระบุกาลโดยการเติม พาร์ติเคิล

ไม่ทำการเปลี่ยนตัวกิริยา แต่เติม particle แสดงความหมายแทน §108 .  ASSERTIVE AFFIXES . သည်, simply assertive, as သွား​သည်,  he goes;  in certain combinations, written သော. เห็นใช้คำว่า တယ် นั้นเป็นภาษาพูดนะครับ ၏, same as သည်. ဘူး, simply assertive, in negative sentences, as မသွား​ဘူး,  he goes not, ​—​chiefly colloquial. ဆဲ, present, but scarcely used except substantively, as သွား​ဆဲ​ဖြင်​သည်,  he is going  (see Verbs used substantively,  §122 ), or in a participial clause, according to the note below, as ယခု​ဖြစ်​ဆဲ​သော​အမှု,  the business that now is,  or  the present business.  In the substantive construction, it may be combined with a preceding future affix, as သွား​လုဆဲ, or reduplicated, as သွား​မည်​ဆဲ​ဆဲ​တွင်,  when he was just about going. ပြီ, past, as သွားပြီ,  he went,  or  has gone;  sometimes future. အံ့, future, as သွားအံ့,  he will go;  sometimes equivalent to the continuative affix လျှင်, which see. မည်, future. လတံ့, or လတ္တန့် future. N.

Verb Transitive and Intransitive

ค่อยๆศึกษาให้ดี §105 . Verbs are of two kinds, transitive, which express actions that pass from the agent to the object, as ရိုက်​သည်,  to strike,  ချစ်​သည်,  to love;  and intransitive, which express being, or some state of being, or an action which is confined to the agent, as  ဖြစ်​သည်,  to be,  နေ​သည်,  to remain, ကောင်း​သည်,  to be good,  ပျက်​သည်,  to be ruined,  or  in a state of ruin. Many transitive verbs are formed from intransitive ones §106 . Many transitive verbs are formed from intransitive ones, by aspirating the initial letter. If the initial is the first letter of the first or fifth class of consonants, it is changed for its corresponding aspirate, the second letter of the class, as ကျသည်,  to fall,  ချသည်  to throw down, or  cause to fall;  ပျက်​သည်,  to be ruined,  ဖျက်​သည်,  to ruin.  If the initial is a nasal, or an unclassed letter, it is combined with the letter ဟ, as ညွတ်​သည်,  to be bent down,  ညွှတ်​သည်,  to bend down; လွတ်​သည်,  to be free,  လွှတ်​

age

age [eidZ] (n) 1. the amount of time during which a      person or thing has existed:   အသက္အ႐ြယ္၊ သက္တမ္း။     He went to school at the age of      five (years);    သူအသက္ ၅ ႏွစ္    အ႐ြယ္မွာ ေက်ာင္းစေနသည္။     What age is she?   သူ႕အသက္ ဘယ္ေလာက္ရွိျပီလဲ။ 2. (often with cap) a particular period      of time: ေခတ္။     This machine was the wonder of the age.    ဒီစက္ယႏၲရားဟာ သူ႕ေခတ္နဲ႕    သူေတာ့ အံ့ဖြယ္တစ္ပါးပါပဲ။     the Middle Ages:    အလယ္ေခတ္။ 3. the quality of being old.   ႏွစ္ၾကာေသာအျဖစ္။    အသက္ရျခင္း။     This wine will improve with age.   ဤစပ်စ္၀ိုင္သည္ ႏွစ္ခ်ိဳ႕ေလ    ေကာင္းေလျဖစ္သည္။     With the wisdom of age he regretted the     mistakes he had made in his youth.   အသက္ရလာ၍ ဆင္ျခင္တံု    တရားရွိလာရာ ငယ္စဥ္က    မိုက္မဲခဲ့သည္တို႕ကို ေနာင္တ    ရမိသည္။ 4. (usu in pl) a very long time:   ရွည္လ်ားေသာကာလ။     Weve been waiting (for) ages for a bus.   ကၽြန္ေတာ္တို႕ ဘတ္စ္ကား    ေစာင့္ရတာၾကာလွျပီ။     —(v)—(prp) ag(e)ing —     to (cause to) grow old or look old:   အသက္ၾကီးလာသည္။    အိ

Date

date date¹ [deit] (n) 1. (a statement on a letter etc giving) the      day of the month, the month and year:    ရက္စဲြ။ ေန႕စဲြ။     I cant read the date on this letter.   ဒီစာေပၚက ရက္စဲြကို    ကၽြန္ေတာ္ဖတ္လို႕မရဘူး။ 2. the day and month and/ or the year in     which something happened or is going     to happen:    ျဖစ္ျပီး (သို႕) ျဖစ္ရန္ရွိသည္ကို    ထိမ္းသိမ္းအမွတ္ ထားရွိေသာ    ေန႕ရက္။ရက္။ ေန႕။     What is your date of birth?   မင္းရဲ့ေမြးသကၠရာဇ္က    ဘယ္ေန႕လဲ။ 3. an appointment or engagement, esp a     social one with a member of the     opposite sex:    ေယာက်္ား မိန္းမႏွစ္ဦး    ဆံုရန္ ခ်ိန္းသည့္ရက္။     He asked her for a date.    သူသည္ မိန္းကေလးကို    ေတြ႕ဖို႕ရက္ခ်ိန္းေတာင္းသည္။     —(v) 1. to have or put a date on:   ရက္စဲြပါသည္။    ရက္စဲြတပ္သည္။     This letter isnt dated.   ဒီစာမွာ ရက္စဲြမပါဘူး။ 2. (with from or back) to belong to; to     have been made, written etc at (a     certain time):    အခ်ိန္ကာလ တစ္ခုခုႏွင့္    သက္ဆိုင္သည္။     Their quarrel dates back to last year.   သူ

ผสมคำด้วยสระอา အာ , အါ สระอาเรียกว่า เยชา นะครับ

Image
ผสมคำด้วยสระอา အာ , အါ สระอาเรียกว่า เยชา นะครับ အစားအစာ อะซาอะซา - อาหารการกิน )) ဝါစားပါ။ วาซาบ่า - เคี้ยวกินเถิด )) အသား ပါသလား อตา บ่าตะลา - เนื้อมีไหม หรือ มีเนื้อไหม )) ငါး ပါသလား။ งา บ่า ตะลา - ปลามีไหม )) เชื่อว่าถ้าท่านเรียนระดับ ဘူငယ်တန် จะต้องเจอประโยคนี้ เอามาทบทวนให้ครับ .. บัณฑิตท่านใดจะช่วยเติิมสิ่งที่ ขาด ข้าพเจ้าย่อมยินดี แปลที่ละศัพท์ စား แปลว่ากิน เป็นคำกิริยา เมื่อเติม အ ข้างหน้าจึงเป็นคำนาม အစားအစား ความหมายว่า อาหารการกิน ဝါ แปลว่า "เคี้ยว" အသား แปลว่า เนื้อ သလား เป็นประโยคคำถาม ငါး แปลว่า ปลา ပါ เติมคำให้สุภาพ เป็นคำพ่อแม่รุ่นใหม่เรียกลูกมา กินข้าวเติม ပါ อย่างสุภาพเลย เหมือนคนไทย "กินข้าวนะจ๊ะ โอ๊ะโอ๋" ถ้าพ่อแม่ดุๆหน่อยก็จะใช้ เด๊าะ เป็น ซาเด๊าะ แปลว่า "กินซะ" စားတော် ได้ยินบ่อย ๆ จะเป็นพ่อแม่บ้านนอกหรือบ้านใน เรียกคำศัพท์เอาเนอะ သွားမယ်နော် มีวิเคราะห์คำจากป้ายมาฝากนิดหน่อยครับ ป้ายประกาศของนกแอร์ที่แม่สอด ก็เลยหยิบมาวิเคราะห์คำและตัวอักษร ตามประสานักเรียนหลังห้องครับ ในป้ายเล็ก ๆ สี่เหลี่ยมซ้ายมือ ခရီးစဉ်အသစ် ခရီး ในอังกฤษให้ค

สระออกเสียง อิ အိ (โลจินเต)

สระหลักที่ออกเสียงอิ คือ โลจินเต สะกดเป็น โลจิติน   လုံးကြီးတင်  อ่านเป็นโลจินเต และ โลจินเต + တ် , ပ်  ในรูป -ိ- တ် , ိ- ပ် တ် = ดะตะ ပ် = ปะตะ ท่านเทียบเสียงเป็นอักษรโรมันคือ อิ /it/ , ိ-တ်, ိ-ပ် /itq/ และมีเสียงเดียวครับ ลองพิจารณาเวิร์ดต่อไปนี้ และฟังเสียงจากไฟล์เสียงประกอบ စိတ်    goat စိပ်      port ထိတ်   to be afraid ထိပ်    top နိမိတ် (อ่านว่านเม็ก คำเขียนเป็น นิมิ)  omen ကားစိပ်  bus terminal အပိတ်    closure  ဆေးလိပ်   cigarette တိတ်တဖိတ်  quietly ကျပ်ကျပ်သိပ်သိပ် (จะจะติติ)  congested လိပ်  turtle သိပ်   very ပိတ်    to close နှိပ်     to message တိတ်  to quiet ฟังเสียงประโยคตัวอย่างต่าง ๆ Please be quiet. Trust (me). Don't worry. Light was off. They are going to sleep. Are (you) sure of this address? Please be patient. Are (you) getting very angry? May (I) introduce (you) Do not sleep and live long. Mentally young, physically fit. ต้นฉบับไฟล์ audio http://www.seasite.niu.edu/Burmese/script/SLessons/SLesson27/lesson.htm

မြန်မာဖတ်စာ ကြွ ภาคจบ

မြန်မာဖတ်စာ สระ ကို,ကိုယ်,ကျ,ပြ,ကွယ်

မြန်မာဖတ်စာ สระ အဲ , ယ် ,အော ,န်,မ်

Image
ตัวอย่างคำ                         ခက်                   to be difficult                         တက်                  to attend                         စက်                   machine                         လက်                  hand                         နက်                   to be deep                         လက်နက်                        weapon                         သက်သက်                      deliberately                         ထက်ထက်မြက်မြက်         brilliantly

မြန်မာဖတ်စာ สระ အာ အိ အု အေ

เรียนรู้สระสี่ตัวคือ အာ , အိ , အု , အေ พร้อมกับคำศัพท์ ตามหนังสือ မြန်မာဖတ်စာ ระดับชั้น ဘူငယ်တန်း ติดตามกันได้ ณ บัดนี้ครับ

Learn Burmese Consonants & Vowels! with Pro.Bo

สระเอ အေ พร้อมกับคำเขียนต่างจากคำพูด

Image
ေအ    အေ့    အေး   มีสามเสียง ၍ เป็นคำย่อของ = ရွေွ      (อ่านว่ายเว้ ควบกล้ำเร็ว ๆ )             ไม้ยมก ( ๆ) อ่านคำซ้ำๆในภาษาพม่าก็มีครับ เช่นขื่อเขียนว่า မတင်တင်အေး (มะตินตินเอ้) จะเขียนย่อรูปเป็น မတင် ၂ အေး (เห็น ၂ ตัวยกไหมครับ ทำให้เป็นการอ่านซ้ำสองครั้งหรือเขียนซ้ำสองหน)             ယနေ့ နေသာဧ .. ။       วันนี้ พระอาทิตย์สวยงามอยู่         လေမလာ၍ ပူသည်။     เพราะลมไม่มา ร้อนอยู่         ရေအေးအေး ပေးပါ။     น้ำเย็น ๆ จงให้เถิด         ခရီးဝေးက လာရသည်။         จึงมาอยู่ จากหนทางไกล กิริยาคุมภาค ภาษาพูด และภาษาเขียน           พม่ามีทั้งคำเขียน และคำพูด ในประโยคตัวอย่างนี้สอนทั้งภาษาพูดและภาษาเขียนเพื่อให้เห็นตัวอย่างการใช้ เวลาเขียนภาษาพูดนั้น ก็ให้เข้าใจว่าเป็นการเขียนประโยคทั่วไป แต่คำศัพท์เป็นภาษาพูด ไม่ใช่ภาษาทางตำรา ส่วนภาษาเขียนนั้นเป็นภาษาทางตำรา ทั้งสองภาษานี้จะเอามาพูดหรือเขียนก็ได้ เพียงแต่ให้เหมาะสมกับกาลเทศะ         ဧ .. มีความหมายเท่ากับคำว่า အိ (อี) เป็นกิริยาคุม เป็นปัจจบันกาล ( เป็นภาษาเขียน ถ้าภาษาพูดใช้คำว่า တယ် )                 သည