Posts

Showing posts from May, 2014

เล่นไพ่ และ ชอบปิ้ง ไฟล์เสียงพม่า-eng

Image
Hi, Can I help you? ( ဟုိင္း.....အကူညီေပးပါရေစ ) I’d like to buy a washing machine. ( အ၀တ္ေလွ်ာ္စက္ ၀ယ္ခ်င္ပါတယ္ ) Which brand would you like? ( ဘယ္အမွတ္တံဆိပ္ကုိ ၀ယ္ခ်င္ပါသလဲ ) I don’t care so much about brand. ( ဘယ္အမွတ္တံဆိပ္ပဲျဖစ္ျဖစ္ ကိစၥမရွိပါဘူး ) သင္ၾကားခ်က္အသံဖုိင္ ၊ မူရင္းဗြီဒီယုိဖုိင္မ်ားျဖင္႔ေလ႔လာရန္... เล่นไพ่  แพกะซาแด่ A: Let’s play cards.( ဖဲကစားရေအာင္ ) B: I don’t know any card games.( ဘယ္လုိကစားရမွန္းမသိဘူး ) A: I’ll teach you one.( ငါမင္းကုိ တစ္မ်ိဳးသင္ေပးပါမယ္ ) B: Okay. What will you teach me?( အုိေက..ဘာသင္ေပးမွာလဲ) http://www.thebestenglish4you.com/shopping.html www.facebook.com/burmese

ยิน ถ้า เช่นนั้น จะทำอย่างนี้

Image
ยิน ถ้า เชื่อมประโยคเข้าด้วยกัน มีหลักการใช้ คร่าว ๆ ประโยคหน้าเม่ือมี ยิน แล้ว ไม่ต้องมีคำสร้อย แด่ อีก ดูโครงสร้างแบบดอกไม้ กับประโยคตัวอย่าง สอบถามเรียนภาษาพม่าได้ที่ www.facebook.com/burmese

เปรียบเทียบในภาษาพม่า ด้วยคำ ပို / အ…ဆုံး

รู้คำเปรียบเทียบในภาษาพม่า กว่า , กว่านี้ , และ ที่สุด ด้วยคำ ပို / အ…ဆုံး  โดยใช้กิริยาสภาพ หรือคำคุณศัพท์ ( คำคุณศัพท์ใช้เป็นกิริยาได้ แต่กริยาใช้เป็นคุณศัพท์ไม่ได้ คำที่ใช้ขยาย กว่า กับที่สุด ได้นั้น สันนิษฐานไว้ก่อนว่า เป็นคุณศัพท์ ) 1. กว่า ... ใช้ คุณศัพท์หลัง ပို เช่น ဒါပိုကောင်းတယ် | นั่นดีกว่า  ဒါပိုဆိုးတယ် | นั่นแย่ (เลว) กว่า ဒါပိုရှည်တယ် | นั่นยาวกว่า ဒါပိုတိုတယ် | นั่นสั้นกว่า ဒါ ပိုကြီးတယ် | นั่นใหญ่กว่า ဒါပိုငယ်တယ် | นั่นเล็กกว่า ဘယ်ဟာ ပိုကောင်းသလဲ | อันไหนดีกว่า ပိုကြီးတာ လိုချင်တယ် ต้องการสิ่งที่ใหญ่กว่า ပိုကြီးတာ ပိုကောင်းတယ် ดีกว่า 2. กว่า สิ่งนี้ โดยใช้คำ ဒီထက် มาวางหน้า ပို ဒီထက်ပိုကြီးတယ် | ใหญ่กว่าสิ่งนี้ ဒီထက်ပိုကောင်းတယ် | ดีกว่าสิงนี้ ဒီထက်ပိုဆိုးတယ် | แย่กว่านี้ ဒီထက်ပိုအေးတယ် | เย็นกว่านี้ ရန်ကုန်ထက် ပိုအေးတယ် | เย็นกว่า ย่างกุ้ง ( จะเห็นว่า แทนคำ ดี้ ด้วย ย่างกุ่ง ) တိုရန်တို က ရန်ကုန် ထက် ပိုအေးတယ် | โกยินโต้ เย็นกว่า ย่างกุ้ง ရန်ကုန်က တိုရန်တို ထက် ပိုပူတယ် | ย่างกุ้ง ร้อนกว่า โกยิน 3. ที่สุด အ - - - ဆုံး Examples: အကြီးဆုံး | ใหญ่ที่สุด အမြင့်ဆု...

รวมวลีศัพท์พม่า ฝรั่งทำไว้ น่าสนใจดี

ဗိုက္ဆာတယ္။ / bai' hsa deh/ I'm hungry. ဒါဘာလဲ။ /da ba leh:/ what is this? ဘယ္ေလာက္လဲ။ /ba lau' leh:/ How much is it? ေဈ းၾကီးတယ္။ /ze: kyi: deh/ It's expensive. ေလ်ွာ့ပါဦး ။ /shaw. ba on:/ reduce it, please. (bargaining the price) ဒါယူမယ္။ /da yu meh/ I'll take this(one). ေသခ်ာလား။ /the gya la:/ Are you sure? စိတ္ခ်ပါ။ /sei' cha. ba/ Rest assured, please. (Don't worry) ဒါေလးမ်ား .... /da le: mya:/ It's a piece of cake. ... (It's very easy.) ေနာက္က်တယ္။ /nau’ kya. deh / To be late./ I’m late./ you’re late. Sorry ေနာ္။ / saw: ri: naw/ I’m sorry. OK လား။ / o ke la:/ Are you OK? OK တယ္။/o ke deh/ I’m OK. How to express your feelings for Pre-intermediate or Intermediate စိတ္ခ်မ္းသာတယ္ /sei' chan: dtha deh/ Feel peaceful, at peace စိတ္ဆင္းရဲတယ္/sei' hsin: yeh: deh/ to be discouraged စိတ္ေလးတယ္/sei' le: deh/ feel heavy hearted စိတ္ေပါ့တယ္ /sei' paw. deh/ feel light hearted စိတ္ရွည္တယ္/sei' she deh/ long-tempe...

ด่า တာ เชื่อมกิริยากับคุณศัพท์

တာ อ่านว่า ด่า .. ไม่มีคำแปลครับ เป็นคำทำให้คำคุณศัพท์ใช้กับคำส ร้อยสุดประโยคประเภท แด่ ล่า แล่ เป็นต้น โดยเชื่อมคำกิริยากับคำคุณศัพท์  โดยคำกิริยานั้นจะอยู่หน้า တာ ... เอาหละคงแล้วซิ มันมาจากกฏที่ว่า ตัวกิริยาเท่านั้นต้องอยู่ท้ายป ระโยค .. ติดกับคำสร้อยต่าง ๆ ทีนี้คำ คุณศัพท์ทุกตัวสามารถใช้เป็นกิร ิยาได้ แต่คำกริยาทุกตัวใช้เป็นคุณศัพท ์ไม่ได้ .. งงไหมหล่ะ ฉะนั้นในประโยคที่คำคุณศัพท์เป็ นกิริยาจึงต้องม ี "ด่า" มาขั้นกลาง ... และอย่างว่า เมื่อเป็นคำคุณศัพท์ในที่นี้ใช้ ขยายกิริยา จึงมีคำกิริยามาด้วยเสมอ พูดมากงงเปล่า ๆ ดูตัวอย่างกันดีกว่าครับ เขาพูดดี ( พูดเป็นกิริยา ดี เป็นคุณศัพท์ ) ตูปยอด่าเก้าแด่ เขาทำเร็ว ( ทำ เป็นกริยา เร็ว เป็นคุณศัพท์ ) ตูโล๊กด่าเมี้ยนแด่ เขามาช้า .... ตูลาด่าเน่าจะแด่ เขาบอกแน่นอนไหม ... ตูปยอด่าเตชาล่า เขารู้แน่นอนไหม .. ตูติด่าเตชาล่า การเดินทางราบรื่นไหม ... คยีตั้วด่าอซินปิ๊เอ้ล่า เขามีเวลาแน่นอนไหม ... ตูฮม่าอะเช่งชิดาเตชาล่า เขาทำให้แน่นอนไหม ... ตูโล็กด่าเตชาล่า เป็นต้น ตัวเขียนพม่า เด่วมาทีหลัง

การใช้ ล่า ตะล่า แล่และตะแล่

Image
เคยสงสัยไหมครับว่า ล่า ตะล่า แล่ และตะแล่ ในประโยคคำถามของพม่า ใช้ต่างกันอย่างไร  คำว่า ล่า ตะล่า แปลว่า หรือ ในประโยคคำถามที่ต้องการคำตอบแบบปิด เช่น ใช่ หรือไม่ใช่ ไป หรือไม่ไป คำตอบปิดเหมือนในการทำแบบสำรวจที่ระบุคำตอบให้เลือกเพียงหนึ่งกั บสอง .. สถานะไหนใช้ ล่า สถานะไหน ใช้ตะล่า คำว่า แล่ ตะแล่ แปลว่า หรือเหมือนกัน แต่ใช้ถามเพื่่อต้องการคอนเทนต์ เช่น ไปด้วยอะไร มาด้วยอะไร ชื่อเรียกว่าอะไร เป็นต้น สถานะไหนใช้ แล่ สถานะไหนใช้ตะแล่ ... (อีกแหละ) อาจารย์พม่าท่านหนึ่งสอนไว้ เข้าใจชัดมากครับ ดังนี้ "ล่า กับ แล่ นั้นใช้ไม่เป็นทางการ ส่วนตะล่า กับตะแล่นั้น ใช้อย่างเป็นทางการ เช่น พบกันครั้งแรกถามชื่อ ยังไม่คุ้นเคยกันมาก่อนเราก็ถามโดยใช้คำถามทางการ การถามในที่ประชุม ทหาร ตำรวจ ราชการ เป็นต้น " ส่วน การถามธรรมดาแบบชาวบ้าน คุยกัน ถามเพื่อนสนิท ใช้ล่า กับแล่ " พอจะเข้าใจไหมครับ ลองดูประโยคต่อไปนี้ แล้วคิดถึงบุพบทว่า ควรจะเป็นใครคุยกับใคร ไปด้วยกันไหม "อะตูตู ตั้่วล่า" คำตอบ ไป ไม่ไป ( ถามเพื่อนหน้าออฟฟิต) ไปด้วยกันไหม "อะตูตู ตั้งตะล่า" (ถามอาจารย์ในห้องประชุม)...

สมุดเขียนอักษรพม่า

Image
มาแล้วส่งตรงจากเมียวดี/แม่สอด "หนังสือฝึกเขียนตัวอักษรพม่า แบบตามตัวประ" ในชื่่อ กาจี กาแขว่ เขียนอย่างไร" หรือ ကကြီး ခခွေး ဘယ်လိုရေး เหมาะสำหรับ ผู้ฝึกเรียนภาษาพม่าเบื้องต้น ฝึกเขียนตัวอักษรอย่างถูกต้อง และรวดเร็ว ...  สนใจสั่งผ่าน Inbox ครับเล่มละ 50 บาท รวมค่านำส่งทางไปรษณีย์แล้ว ความหนา สี่สิบหน้า ติดต่อสั่งซื้อที่ https://www.facebook.com/burmese

OR ในภาษาพม่า

or คัดมาจากดิคชั่นนารี อธิบายไว้ครอบคลุม ดังนี้ or [o:] (conj)  1. used to show an alternative:    သို႕မဟုတ္။     Is that your book or is it mine?    အဲဒီစာအုပ္ဟာ မင္းဟာလား၊    ဒါမွမဟုတ္ ငါ႕ဟာလား။ 2. because if not: သို႕မဟုတ္လွၽင္။     Hurry or youll be late.       သုတ္သုတ္လုပ္၊ ႏို႕မဟုတ္ရင္    ေနာက္က်လိမ္႕မယ္။     or so about; approximately:    မွၽေလာက္။ ခန္႕။     I bought a dozen or so (books) .    ကၽြန္ေတာ္ စာအုပ္တစ္ဒါဇင္ခန္႕    ၀ယ္ခဲ႕သည္။  http://www.planet.com.mm/dictionary/index.cfm?searchterms=or&searchtype.x=14&searchtype.y=21&searchtype=SEARCH

ไทย สกา ปยอ สำหรับพม่าพูดไทย

Image
ีรีวิวหนังสือ "ฝึกสนทนาภาษาไทย" สำหรับคนพม่า  หนังสือขนาดพ๊อกเก็ตบุ๊ค เท่ากับ ต่วยตูน เล่มเล็กเล่มนี้มาในชื่อพม่าว่า "ไท สกาปยอ - พูดภาษาไทย " ในบทสนทนา ชื่อภาษาไทย ภาษาพม่า ว่าอย่างไร หนังสือนี้ออกแบบให้คนพม่าอ่านและพูดภาษาไทยได้ครับ แต่ค นไทยที่เรียนภาษาพม่า ได้ประโยชน์เต็ม ๆ ก็คือ 1. ทำให้ทราบ ภาษาไทยอย่างนี้ ภาษาพม่านั้น เขียนว่าอย่างไร 2. เนื้อหาออกแบบลักษณะ สนทนามี 32 บท เป็นคำภาษาไทยก่อน แล้วตามด้วยภาษาพม่า มีคำแปลภาษาอังกฤษ กำกับภาษาพม่าอีกชั้นหนึ่งด้วย 3. เมื่อจบบทสนทนาแต่ละบท จะมีคำศัพท์ vocabulaly ประกอบ ทำให้จดจำคำศัพท์ได้มากขึ้น หนังสือเล่มนี้เหมาะกับ นักศึกษา หรือผู้ผ่านคอร์สสะกดและอ่านตัวอักษรพม่าเป็นแล้ว เพราะ ไม่มีคำอ่านภาษาไทยประกอบ .. ถ้าผู้ที่อ่านตัวอักษรพม่าได้บ้างแล้ว หนังสือเล่มนี้เหมาะอย่างยิ่งครับ ที่จะทำให้ท่านได้ทั้งบทสนทนา และคำศัพท์เพิ่มมากขึ้น สนใจสั่งซื้อได้เล่มละ 150 บาท ( บวกค่าจัดส่ง ems 50 บาท ) ความหนา 230 หน้า สนในหนังสือติดต่อผ่าน www.facebook.com/burmese

อาบน้ำยี่สิบ ขี้ห้าบาท

Image
อาบน้ำ ยี่สิบ นั่งหนักนี่ห้าบาท ภาษาพม่าแบบบ้าน ๆ  เยโช้ อาบน้ำ เย = น้ำ ရေ โช้ = อาบ เป็นกิริยา ချိုး --- เองตา = ห้องน้ำ အိမ်သာ ตัด = ขึ้น တတ် ( เช่น ขึ้นรถ ) เป็นกริยา ใช้กับการขึ้นนั่งโถส้วม (ด้วย) เป็นการเขียนป้ายแบบชาวบ้าน ถ้าพูดจะต้องมีตัวบ่งชี้ที่เป็น คำบอกเล่า คำถาม คำสั่ง เป็นต้น จึงจะเป็นคำพูดที่สมบูรณ์ (แด่ ล่า บ่า เป็นต้น) เช่น อาบน้ำ (บอกเล่า) เยโช้แด่ ผมกำลังอาบน้ำ จะหน่อเยโชเนแด่ เด่วมาขยายเข้าห้องน้ำ กับ นั่งส้วม กันอีกทีครับ

အိမ်ခန်းငှါးမယ်။ ห้องนี้ให้เช่า

Image
ป้าย "ให้เช่า" นี้ ให้ความรู้อะไรกับเราได้บ้าง อ่านได้ว่า "เอ้กค้านฮง่าแหม่" จะให้เช่าห้อง คำศัพท์ - အိမ် ( เอ้ก ) = บ้าน - ခန်း ( ค้าน ) = ห้อง ฉะนั้น အိမ်ခန်း จึงหมายถึงบ้านห้อง หากเป็นตึกที่มีห้องสามชั้น ก็จะรวมทั้งสามชั้นนั้นด้วย เหมือนอพาร์ทเมนต์สามชั้น ก็หมายถึงทุกช้น ถ้าจะระบุห้องนี้ห้องเดียว ควรใช้คำว่า အခန်း (อะค้าน) ที่แปลว่าห้อง หรือระบุคำบ่ง นี้ ไว้ด้านหน้า ให้ชัดว่า "ดีอะค้าน" ห้องนี้ก็ชัดเจนดี - ငှါး ( ฮง่า ) = เป็นกริยาแปลว่า "เช่า" ตัวนี้เป็น ง (งู) บวกกับ ห (หีบ) ถ้าตัด ห (หีบ) ออกเสีย ก็จะแปลว่า ปลา และ เลขห้า คุ้น ๆ กันเนาะ - မည် เป็นคำท้ายประโยค แบบภาษาเขียนของคำว่า မယ် ที่เแปลว่า "จะ" ประโยคนี้ในภาษาพูดจะคุยกันว่า အိမ်ခန်းငှါးမယ်။  ในทางไวยากรณ์ยังไม่ครอบคลุมเมื่อเขียนเป็นภาษาเขียนแล้วก็ระบุตัวบ่งกรรม (คือห้อง) ให้ชัดเป็น အိမ်ခန်းမှာ ငှါးမည်။ จัดเป็นการเขียนป้ายแบบทางการอีกป้ายครับ

มีอะไรให้ช่วยไหม ตามแบบพม่า ว่าอย่างไร

มิงกะลาบ่า จะเนาะแยะ ตูแหง่ฉิน ( สวัสดี เพื่อนของผม ) หากเราทักทายเพื่อนด้วยคำว่า "เหน่เก๊าหล่า" နေကောင်းပါလား แล้ว คำตอบพร้อมสีหน้าเพื่อนแสดงว่าไม่สบายใจ คำตอบก็น่าจะไปทำนองว่า "เหน่มะเก๊าบู" နေမကောင်းပါဘူး ถ้าหาก နေသိပ်မကောင်းဘူး ( เหน่เ ต๊ะมะเก๊าบู ) แสดงว่าไม่สบาย (ด้านความเป็นอยู่ อย่างมาก) หากท่านจะแสดงความห่วงใย(ด้วยใจจริง) ก็อาจจะถามอยา่งไทยว่า "เกิดอะไรขึ้นหรือ" มีไรให้ช่วยไหม ก็พูดได้ว่า "บาพยี้ดโล๊ะแล" ဘာဖြစ်လို့လဲ။ ( ทำไมหล่ะ ) "บาพยี้ดด่าแล" ဘာဖြစ်တာလဲ။ (เกิดอะไรขึ้นหรือ) และ "บากูยีเบยะมะแล" ဘာကူညီပေးရမလဲ။ คำว่า บากูยีเบยะมะแล ประกอบด้วย บา อะไร กูและยี เป็นคำกิริยา ความหมายว่า "ข้ามเหตุการณ์" กู ข้าม ยี เหตุการณ์ เบ เป็นกริยา ที่บอกว่าจะให้ทำอะไร (กับใครไหม) ยะมะแล จะได้หรือไม่ ถือเป็นคำจริงใจมาก และการช่วยเหลือก็ไม่ใช่เพียงแค่ปลอบใจให้หายกังวลเท่านั้น แต่ถึงกับ "จะพาข้ามปัญหา" นั้น ๆไปเลยทีเดียว .. ถามตัวเองด้วยนะครับว่า พร้อมขนาดนั้นไหม หากเพื่อนไม่ต้องการความช่วยเหลือ ก็อาจจะตอบว่า ...

วิสาขบูชาทางพม่า คือวันรดน้ำต้นโพธิ์

Image
13 พฤษภาคม วิสาขบูชา วันที่มีความสำคัญเกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้า บ้านเราตอนเย็นต้องเวียนเทียน ส่วนเหมี้ยนหม่าท่านว่า เป็นวัน "กะโซนเหย้าเย้ตว้าน แบว" คือวันรดน้ำต้นโพธิ์  ကဆုန်ညောင်ရေသွန်းပွဲ พม่ามีสำนวนว่า "ตะกูน้ำลง กะโส่งน้ำแล้ง" เดือนกะโ ส่ง (พฤษภาคม) อากาศร้อนอบอ้าวกว่าเดือนอื่น ๆ ชาวพุทธ จึงจัดงานรดน้ำต้นโพธิ์กันในวันเพ็ญเดือนกะโส่ง ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง พม่าได้กำหนดเรียกวันดังกล่าวว่า "วันพุทธะ" อันเป็นวันประสูตร ตรัสรู้ และปรินิพพาน ของพระพุทธเจ้า หากโชคดีจะได้มีโอกาสรดน้ำต้นโพธิ์ที่พม่าในก็น่าจะคราวนี้กระมัง .... คำศัพท์ กะโซนละ - เดือนพฤษภาคม ตะกูละ - เดือนเมษายน เหย้า - ต้นโพธิ เหย่- น้ำ ตว้าน - เป็น v. รด แบว - งาน ( ภาพทั้งหมดจิ๊กมาจากอินเทอร์เน็ต ด้วยคีย์เวิร์ดพม่า - ขอบคุณต้นฉบับทุกเว็บ )

จั้วบ่า โจโซบา และมิงกลาบ่า ยินดีต้อนรับ

จั้วบ่า.. เพื่อนกัลยาณมิตรทุกท่าน อะแฮ่ม วันนี้มาแบบ จั้วบ่า เพราะมิงกะลาบา ว่ากันจนเลื่อนเหมือนเด็กนักเรี ยนประฐม ซำ้บางคนยังใช้กับพระเสียอีก .. เลยกลายเป็นพม่าบ้านชนบทไป ในชั่วเวลากาแฟสบาย ๆแบบนี้ ผมจะเจียรไนให้ฟัง เท่าที่กาแฟหมดถ้วยพอดี คำว่ายินดีต้อนรับ .. เหมี้ยนหม่าท่านใช้อยู่ (เท่าที่รู้) สามคำครับท่าน มิงกะลาบา โจโซบ่า และ จั้วบ่า เมื่อมีถึงสามคำ แสดงว่ามันต้องต่างกันบ้างแหละ โจโซบ่า ..  ท่านว่าเอาไว้เขียนป้าย ยินดีต้อนรับ สู่ .. ตามหมู่บ้าน ตามเมือง .. งั้นก็ไม่น่ามาใช้กับคนเป็นตัวๆ  เอ้ย เป็น เหย้า ๆ (คน ๆ) อะดิ มิงกะลาบ่า คนอธิบายเยอะมากแล้ว ส่วนผมจะบอกว่า สวัสดีคุณครู หรือใช้กับแขกผู้ทรงเกียรติ ประเภททั้งชาติเจอหน้ากันหนเดีย ว .. ว่าไป จั้วบ่า .. ท่านว่า เชิญแขกเข้าบ้าน เชิญลูกค้าเข้าร้าน นิมนต์พระเพื่อใส่บาตร ใช้กับคนคุ้นหน้า หรือแขกผู้มาเยือนเรือนชาน เห็นไหมต่างกันจริง ๆ ด้วย ที่ผมบอกว่า จั้วบ่า ก็ขอเชิญท่าน(ผู้ติต่างว่ารู้จั ก) เข้ามาเยือนถึงเฟจนี้ กาแฟหมดถ้วยพอดี เห็นทีจะต้อง. "ตั้วโอแหม่เน๊าะ"