ကော , လည်း และ လောက် นามปัจจัย
ถ้าอ่านไม่รู้เรื่องต้องปรับฟอนต์ให้เป็น Unicode นะครับ
-----------------
อันนี้ฟอนต์ Zawgyi ေကာ ။ လည္း ။ ေလာက္
ကော เป็นนามปัจจัย เติมหลังนาม มักใช้ในประโยคคำถาม มีความหมายว่า "แล้ว...ล่ะ"
ตัวอย่าง
မနီ ကော်ဖီသောက်မယ် ။ မဖြူကော ဘာသောက်မလဲ။
มะหนี่จะดื่มกาแฟ แล้วมะพยูหล่ะ จะดื่มอะไร ?
မမြ ဖျားတယ် ။ သူ့ကလေးကော ဖျားသလား ။
มะมยะ เป็นไข้ แล้วลูกของเขาหล่ะเป็นไข้ไหม
အစ်ကို ပ့ဂံလာလည်မယ် ။ အစ်မကော လာလည်မလား ။
พี่ชายจะมาเที่ยวพุกาม แล้วพี่สาวหล่ะจะมาไหม
လည်း นามปัจจัย
เป็นนามปัจจัยแบบย้ำข้อความ ใช้ในความหมาย "ก็ด้วย" การใช้ လည်း จะวางไว้หลังคำนามในประโยคถัดจากประโยคที่มีความต่อเนื่อง โดยที่คำนามนั้นอาจจะมีหน้าที่เป็นประธานหรือเป็นกรรมของประโยคก็ได้ มักใช้ในประโยคบอกเล่า
ဆရာ လာမယ် ။ ဆရာမလည်း လာမယ် ။
ဖေဖေ ဆာတယ်။ မေမေလည်း ဆာတယ် ။
ဘဘ လာလည်မယ် ။ မမလည်း လာလည်မယ်။
လည်း ในตำแหน่งกรรม
အစ်ကို နို့သောက်မယ် ။ သူက ကော်ဇီလည်း သောက်မယ်။
พี่ชายดื่มนม เขาก็จะดื่มกาแฟด้วย
လောက် นามปัจจัย
เป็นปัจจัยวางท้ายนามแสดงจำนวนโดยประมาณ มีความหมายว่า "ราว..สัก" มีรูปแบบการใช้ คือ
นาม + จำนวน + ลักษณะนาม + လောက်
လူ ၄၅ ယောက်လောက် သေတယ်။
คนตายราว สี่สิบห้าคน
ပဝါ ၅ ထည်လောက် ဝယ်မယ်။
จะซื้อผ้าคลุมไหล่ราว ห้า ผืน
ทั้งหมด
จากหนังสือ "เรียนรู้ภาษาพม่า อรนุช นิยมธรรม"
มิได้ตัดแต่งแต่ประการใด
-----------------
อันนี้ฟอนต์ Zawgyi ေကာ ။ လည္း ။ ေလာက္
ကော เป็นนามปัจจัย เติมหลังนาม มักใช้ในประโยคคำถาม มีความหมายว่า "แล้ว...ล่ะ"
ตัวอย่าง
မနီ ကော်ဖီသောက်မယ် ။ မဖြူကော ဘာသောက်မလဲ။
มะหนี่จะดื่มกาแฟ แล้วมะพยูหล่ะ จะดื่มอะไร ?
မမြ ဖျားတယ် ။ သူ့ကလေးကော ဖျားသလား ။
มะมยะ เป็นไข้ แล้วลูกของเขาหล่ะเป็นไข้ไหม
အစ်ကို ပ့ဂံလာလည်မယ် ။ အစ်မကော လာလည်မလား ။
พี่ชายจะมาเที่ยวพุกาม แล้วพี่สาวหล่ะจะมาไหม
လည်း นามปัจจัย
เป็นนามปัจจัยแบบย้ำข้อความ ใช้ในความหมาย "ก็ด้วย" การใช้ လည်း จะวางไว้หลังคำนามในประโยคถัดจากประโยคที่มีความต่อเนื่อง โดยที่คำนามนั้นอาจจะมีหน้าที่เป็นประธานหรือเป็นกรรมของประโยคก็ได้ มักใช้ในประโยคบอกเล่า
ဆရာ လာမယ် ။ ဆရာမလည်း လာမယ် ။
ဖေဖေ ဆာတယ်။ မေမေလည်း ဆာတယ် ။
ဘဘ လာလည်မယ် ။ မမလည်း လာလည်မယ်။
လည်း ในตำแหน่งกรรม
အစ်ကို နို့သောက်မယ် ။ သူက ကော်ဇီလည်း သောက်မယ်။
พี่ชายดื่มนม เขาก็จะดื่มกาแฟด้วย
လောက် นามปัจจัย
เป็นปัจจัยวางท้ายนามแสดงจำนวนโดยประมาณ มีความหมายว่า "ราว..สัก" มีรูปแบบการใช้ คือ
นาม + จำนวน + ลักษณะนาม + လောက်
လူ ၄၅ ယောက်လောက် သေတယ်။
คนตายราว สี่สิบห้าคน
ပဝါ ၅ ထည်လောက် ဝယ်မယ်။
จะซื้อผ้าคลุมไหล่ราว ห้า ผืน
ทั้งหมด
จากหนังสือ "เรียนรู้ภาษาพม่า อรนุช นิยมธรรม"
มิได้ตัดแต่งแต่ประการใด
https://www.facebook.com/somkiertk
ReplyDeleteในวีดีโอ อาจารย์พูดว่า "ผมดื่มน้ำร้อยด้วย ดื่มน้ำเย็นด้วย ใช้
จะหน่อ เยนุ้ยแลเต้าแด่ เยเอ้แลเต้าแด่
ใช้แลทั้งสองแห่ง หลังคำนามเยนุ้ย และ เยเอ้