สระเอ အေ พร้อมกับคำเขียนต่างจากคำพูด
ေအ အေ့ အေး มีสามเสียง
၍ เป็นคำย่อของ = ရွေွ (อ่านว่ายเว้ ควบกล้ำเร็ว ๆ )
ไม้ยมก (ๆ)
อ่านคำซ้ำๆในภาษาพม่าก็มีครับ เช่นขื่อเขียนว่า မတင်တင်အေး (มะตินตินเอ้) จะเขียนย่อรูปเป็น မတင်၂အေး (เห็น ၂ ตัวยกไหมครับ
ทำให้เป็นการอ่านซ้ำสองครั้งหรือเขียนซ้ำสองหน)
ယနေ့ နေသာဧ..။ วันนี้ พระอาทิตย์สวยงามอยู่
လေမလာ၍ ပူသည်။ เพราะลมไม่มา ร้อนอยู่
ရေအေးအေး ပေးပါ။ น้ำเย็น ๆ จงให้เถิด
ခရီးဝေးက လာရသည်။ จึงมาอยู่ จากหนทางไกล
กิริยาคุมภาค
ภาษาพูด และภาษาเขียน
พม่ามีทั้งคำเขียน และคำพูด
ในประโยคตัวอย่างนี้สอนทั้งภาษาพูดและภาษาเขียนเพื่อให้เห็นตัวอย่างการใช้
เวลาเขียนภาษาพูดนั้น ก็ให้เข้าใจว่าเป็นการเขียนประโยคทั่วไป
แต่คำศัพท์เป็นภาษาพูด ไม่ใช่ภาษาทางตำรา ส่วนภาษาเขียนนั้นเป็นภาษาทางตำรา ทั้งสองภาษานี้จะเอามาพูดหรือเขียนก็ได้
เพียงแต่ให้เหมาะสมกับกาลเทศะ
ဧ.. มีความหมายเท่ากับคำว่า အိ (อี) เป็นกิริยาคุม เป็นปัจจบันกาล (
เป็นภาษาเขียน ถ้าภาษาพูดใช้คำว่า တယ်)
သည် (ตี่) เป็นกิริยาคุมภาค เป็นปัจจุบันกาล เช่นกัน
เป็นภาษาเขียน ในภาษาพูดจะใช้ တယ်
၍ เป็นคำเชื่อมประโยคที่แสดงความเป็นเหตุ
( เช่น เพราะลมไม่มา (จึง)ร้อนอยู่ ภาษาพม่าไม่มีคำว่า “จึง” แสดงแต่เหตุเท่านั้น
က แปลว่าจาก
ใช้ในภาษาพูด ในภาษาเขียนใช้ မှ มีความหมายเช่นเดียวกัน
စကား
ယနေ့ วันนี้
နေ พระอาทิตย์
သာ สวยงาม
ဧ.. (อยู่,ย่อม) เป็นกิริยาคุมภาค ปัจจุบันกาล
เป็นภาษาเขียน
သည် (อยู่,ย่อม) กิริยาคุมภาค ปัจจุบันกาล
เป็นภาษาเขียน
လေ ลม
မလာ ไม่มา
၍ (เพราะ) คำเชื่อมประโยค
แสดงความเป็นเหตุ
ရေ น้ำ
အေးအေး เย็นเย็น
ပေး ให้
ပါ เป็นคำสุภาพ สำหรับประกอบกิริยาต่าง
ๆ
ခရိ หนทาง
ဝေး ไกล
ဝေ อ่อนนุ่ม
ပူ ร้อน
ညီလေး น้องเล็ก ညီ = น้อง လေး = น้อยหรือหนัก
၁ = တစ် စ် = เป็นสระออกเสียง
“อี้ด” ตัวอักษร “จ”
၂ = နှစ်
၃ = သုံ -ံု = เป็นสระออกเสียง “โอง”
၄ = လေး
၅ = ငါး
၆ = ဘြေက် ေ-က် = เป็นสระออกเสียง “อ๊อก”
၇ = ခုနှစ် , ခွနှ်
၈ = ရှစ်
၉ = ကိုး -ုိ = เป็นสระออกเสียง “โอ”
၁၀ = တစ်ဆက်
သ = ส เสือ อ่านเป็น ต เต่า
သည် = ตี ในตำราเขียนสั้น
ๆโดยรูป ညှ် เอาหางล่าง กับ หางบนมาผม ည ตัวแรก
Comments
Post a Comment