ผสมคำด้วยสระอา အာ , အါ สระอาเรียกว่า เยชา นะครับ
ผสมคำด้วยสระอา အာ , အါ สระอาเรียกว่า เยชา นะครับ
အစားအစာ อะซาอะซา - อาหารการกิน ))
ဝါစားပါ။ วาซาบ่า - เคี้ยวกินเถิด ))
အသား ပါသလား อตา บ่าตะลา - เนื้อมีไหม หรือ มีเนื้อไหม ))
ငါး ပါသလား။ งา บ่า ตะลา - ปลามีไหม ))
เชื่อว่าถ้าท่านเรียนระดับ ဘူငယ်တန် จะต้องเจอประโยคนี้
เอามาทบทวนให้ครับ .. บัณฑิตท่านใดจะช่วยเติิมสิ่งที่ ขาด ข้าพเจ้าย่อมยินดี
แปลที่ละศัพท์
စား แปลว่ากิน เป็นคำกิริยา เมื่อเติม အ ข้างหน้าจึงเป็นคำนาม အစားအစား ความหมายว่า อาหารการกิน
ဝါ แปลว่า "เคี้ยว"
အသား แปลว่า เนื้อ
သလား เป็นประโยคคำถาม
ငါး แปลว่า ปลา
ပါ เติมคำให้สุภาพ
เป็นคำพ่อแม่รุ่นใหม่เรียกลูกมา กินข้าวเติม ပါ อย่างสุภาพเลย เหมือนคนไทย "กินข้าวนะจ๊ะ โอ๊ะโอ๋" ถ้าพ่อแม่ดุๆหน่อยก็จะใช้ เด๊าะ เป็น ซาเด๊าะ แปลว่า "กินซะ" စားတော် ได้ยินบ่อย ๆ
จะเป็นพ่อแม่บ้านนอกหรือบ้านใน เรียกคำศัพท์เอาเนอะ
သွားမယ်နော်
มีวิเคราะห์คำจากป้ายมาฝากนิดหน่อยครับ
ป้ายประกาศของนกแอร์ที่แม่สอด ก็เลยหยิบมาวิเคราะห์คำและตัวอักษร ตามประสานักเรียนหลังห้องครับ
ในป้ายเล็ก ๆ สี่เหลี่ยมซ้ายมือ
ခရီးစဉ်အသစ်
ခရီး ในอังกฤษให้ความหมายว่าในที่นี้ใช้เป็นนาม
စဉ် (( ไม่ทราบความหมายแท้จริง ..ละไปก่อน ))
အသစ် แปลว่าใหม่ เช่น คำนี้เจอในสวัสดีปีใหม่ "นิต ติ๊ต หกู" คำว่า ติ๊ต นั่นแหละครับ ต သ เต่า ผสมสระอิ๊ด စ်
ความหมายบรรทัดนี้ก็คือ "เพิ่มเที่ยวบินใหม่"
ဘန်ကောက် เป็นคำนามอ่านว่า บันเกาะ หรือ บันเก๊าท์ (( ก็คือบางกอก..กรุงเทพนะเอง ))
မ်ဆောက် เป็นคำนามอ่านว่า แม๊เซาะ หรือ แม๊เซ๊า (( ก็คือแม่สอด))
ทั้งสองคำนี้ใช้สระเดียวกันคือ ေ-ာက် อ่านว่า ตะเวโท + เยชา + กะตะ เป็นสระออกเสียง /auq/ เก๊าะ หรือเมื่อผสมบางคำเป็นเกาะ คำที่คุ้นเคยก็คือ (( ตะเวโท + ตะ + เยชา + กะตะ อ่านว่า เต้า သောက် ดื่ม และ ရောက် เย้า แปลว่า มาถึง เป็นต้น ))
ออกมาข้างนอก
သို့ နေ့ စဉ် แปลว่าต่อวัน (( ผมดูคำว่า နေ့ แปลว่า วัน ในไวยากรณ์จะเขียนเป็น နေ့သို့.. อันนี้เป็นป้ายโฆษณา เน้นคำ .. ว่ากันไป))
၄ เป็นตัวเลขพม่า คือเลข ๔ ครับ เราจะเห็นตัวเลขที่เป็นของพม่าในป้ายประกาศต่าง ๆ ทั่วไป .. (( ต่อไปหัดเขียนตัวเลขพม่าไว้บ้างนะครับ )) ตัวนี้ออกเสียง เล
၁၅၉၀ ၁ = တစ် เลขหนึ่ง ၅ = ငါး เลขห้า ၉ = ကို เลขเก้า 0 ก็คือเลข 0 รวมว่า หนึ่งพันห้าร้อยเก้าสิบ
ยังมีอีกหลายคำศัพท์เด่วไปต่อในคอมเมนต์เนาะ
အစားအစာ อะซาอะซา - อาหารการกิน ))
ဝါစားပါ။ วาซาบ่า - เคี้ยวกินเถิด ))
အသား ပါသလား อตา บ่าตะลา - เนื้อมีไหม หรือ มีเนื้อไหม ))
ငါး ပါသလား။ งา บ่า ตะลา - ปลามีไหม ))
เชื่อว่าถ้าท่านเรียนระดับ ဘူငယ်တန် จะต้องเจอประโยคนี้
เอามาทบทวนให้ครับ .. บัณฑิตท่านใดจะช่วยเติิมสิ่งที่
แปลที่ละศัพท์
စား แปลว่ากิน เป็นคำกิริยา เมื่อเติม အ ข้างหน้าจึงเป็นคำนาม အစားအစား ความหมายว่า อาหารการกิน
ဝါ แปลว่า "เคี้ยว"
အသား แปลว่า เนื้อ
သလား เป็นประโยคคำถาม
ငါး แปลว่า ปลา
ပါ เติมคำให้สุภาพ
เป็นคำพ่อแม่รุ่นใหม่เรียกลูกมา
จะเป็นพ่อแม่บ้านนอกหรือบ้านใน เรียกคำศัพท์เอาเนอะ
သွားမယ်နော်
มีวิเคราะห์คำจากป้ายมาฝากนิดหน่อยครับ
ป้ายประกาศของนกแอร์ที่แม่สอด ก็เลยหยิบมาวิเคราะห์คำและตัวอักษร ตามประสานักเรียนหลังห้องครับ
ในป้ายเล็ก ๆ สี่เหลี่ยมซ้ายมือ
ခရီးစဉ်အသစ်
ခရီး ในอังกฤษให้ความหมายว่าในที่นี้ใช้เป็นนาม
စဉ် (( ไม่ทราบความหมายแท้จริง ..ละไปก่อน ))
အသစ် แปลว่าใหม่ เช่น คำนี้เจอในสวัสดีปีใหม่ "นิต ติ๊ต หกู" คำว่า ติ๊ต นั่นแหละครับ ต သ เต่า ผสมสระอิ๊ด စ်
ความหมายบรรทัดนี้ก็คือ "เพิ่มเที่ยวบินใหม่"
ဘန်ကောက် เป็นคำนามอ่านว่า บันเกาะ หรือ บันเก๊าท์ (( ก็คือบางกอก..กรุงเทพนะเอง ))
မ်ဆောက် เป็นคำนามอ่านว่า แม๊เซาะ หรือ แม๊เซ๊า (( ก็คือแม่สอด))
ทั้งสองคำนี้ใช้สระเดียวกันคือ ေ-ာက် อ่านว่า ตะเวโท + เยชา + กะตะ เป็นสระออกเสียง /auq/ เก๊าะ หรือเมื่อผสมบางคำเป็นเกาะ คำที่คุ้นเคยก็คือ (( ตะเวโท + ตะ + เยชา + กะตะ อ่านว่า เต้า သောက် ดื่ม และ ရောက် เย้า แปลว่า มาถึง เป็นต้น ))
ออกมาข้างนอก
သို့ နေ့ စဉ် แปลว่าต่อวัน (( ผมดูคำว่า နေ့ แปลว่า วัน ในไวยากรณ์จะเขียนเป็น နေ့သို့.. อันนี้เป็นป้ายโฆษณา เน้นคำ .. ว่ากันไป))
၄ เป็นตัวเลขพม่า คือเลข ๔ ครับ เราจะเห็นตัวเลขที่เป็นของพม่าในป้ายประกาศต่าง ๆ ทั่วไป .. (( ต่อไปหัดเขียนตัวเลขพม่าไว้บ้างนะครับ )) ตัวนี้ออกเสียง เล
၁၅၉၀ ၁ = တစ် เลขหนึ่ง ၅ = ငါး เลขห้า ၉ = ကို เลขเก้า 0 ก็คือเลข 0 รวมว่า หนึ่งพันห้าร้อยเก้าสิบ
ยังมีอีกหลายคำศัพท์เด่วไปต่อในคอมเมนต์เนาะ
Comments
Post a Comment