สรุปคำนามในไวยากรณ์พม่า

บันทึกนี้จะไม่สมบูรณ์ในตัว เป็นเพียงตั้งหัวข้อรวมเพื่อแจกแจงหัวข้อย่อย ในคอมเมนต์

1. การเรียงรูปประโยคของภาษาพม่าเรียงตามลำดับคำ ดังนี้

 Nouns,PronounsAdjectivesVerbsAdverbs, and Interjections.

2. คำนามแบ่งออกเป็นนาม common และ proper

นาม common จัดได้ 3 ประเภทคือ

2.1 derivates คำนามที่แปลงมาจากกิริยาด้วยการเติม อา အ
2.2 reduplication คำนามที่แปลงจากกิริยาแล้วรวมกันตั้งแต่สองตัวขึ้นไป จะตัด อา ตัวที่สอง
2.3 compound คือขยายนามหลัก
2.3.1 ในเรื่องจำนวน เป็นเอกพจน์ พหูพจน์ และเพศชาย หญิง ตัวผู้ ตัวเมียเป็นต้น

รูปเอกพจน์
รูปพหูพจน์
รูปเพศชาย
รูปเพชหญิง
รูปตัวผู้
รูปตัวเมีย

2.3.2 ขยายนามในเรื่องสถานะ โดยใช้ particles affix ซึ่งจัดได้เป็นเก้าสถานะคือ

2.3.2.1 Nominative သွည် , ထို , ကား
2.3.2.2 Objective ကို , သို့
2.3.2.3 Possessive
2.3.2.4 Dative အား , ငှါ
2.3.2.5 Causative ကြောင်
2.3.2.6 Intrumentive ဖြင့် , နှင့်
2.3.2.7 Connective နင့်
2.3.2.8 Locative တွင် , ဉ် , မှာ , ဝယ်
2.3.2.9 Ablative မှ , က

ซึ่งจะขยายความและตัวอย่างเท่าที่เห็นใน comment ต่อไป...

http://en.wikisource.org/wiki/Grammar_of_the_Burmese_Language

Comments

  1. เมื่อกล่าวถึงพจน์ ในคำพม่าทั่วไปจะเป็นรูปเอกพจน์ หากเป็นพหูพจน์จะเติม affixing တို့ (ออกเสียง บ ใบไม้ ဒို့) เช่น လူ ผู้ชายคนเดียว ถ้าผู้ชายหลายคนมีรูปเป็น လူတို့ ในบางรูปใช้ adjective များ แทน တို့ หรือใช้พร้อมกันก็ได้ เช่น လူများ, or လူများတို့, men.
    ตัวอย่างการใช้ adjective များ
    သင်ခန်းစာများ Lessons หลายบท
    ဝေါဟာရများ Words หลายคำ
    စကားစုများ Phrases หลายประโยค

    ReplyDelete

Post a Comment

Popular posts from this blog

ชมคนสวย คนหล่อ คนสมาร์ท อย่างพม่า

အိမ်ခန်းငှါးမယ်။ ห้องนี้ให้เช่า

สระเอ အေ พร้อมกับคำเขียนต่างจากคำพูด